The SEAT Project was represented by Dr Jason Weeks from the Centre for Environment, Fisheries and Aquaculture Sciences (CEFAS), UK and the Coordinator for Work Package on Policy Development (WP11). He is the designated lead in EAFI development, working with various project partners. He was accompanied by Dr Francis Murray, from the Institute of Aquaculture, University of Stirling and the co-Project Coordinator of SEAT, and Dr Kriengkrai Satapornvanit, from the Faculty of Fisheries, Kasetsart University and Principal Investigator of SEAT-KU, Thailand.
The SEAT team met with the DoF team led by Dr Waraporn Prompoj, the Senior Expert on International Fisheries Affairs. Dr Chuanpid Chantarawarathit, Chief of the International Cooperation Group, arranged the meeting on the DoF side, which was also attended by the heads of related divisions within the DoF i.e. for shrimp and tilapia.
The meeting was considered a success as it was able to achieve the objectives of informing policy makers on the EAFI as well as it enabled the policy makers to participate in EAFI development by providing their comments, opinions and suggestions. The cooperation of the Thai DoF is much appreciated.
EAFI summary by Dr Jason Weeks, CEFAS (Thai version below)
A key deliverable of the SEAT project is the realisation of
an Ethical Aquaculture Food Index (EAFI). This index will be weighted based on
the consideration of ethical (for e.g. the use of child labour, the adoption of
labour laws etc.) and sustainable (impact of farming on local and wider
environment) issues. The EAFI uses a simple hierarchical tiered assessment
framework as a process to aid decision making and ultimately derive an index
value. The EAFI decision tool adopts a series of linked tiers; each tier
containing a set of questions. The tiers are based around a broad contextual understanding of the value chain landscape for each product, country and size (scale) of enterprise. This forms the baseline or ‘tier 0’ of the framework. Subsequent tiers ask questions of this landscape in order to derive the index score. Tier 1 and 2 (and ultimately 3) ask increasingly more quantitative questions.
The ability to answer the questions dictates the exit point for the framework. Each level of which is subsequently more involved than the previous layer of questioning. By using a tiered decision tool the user need only advance beyond the base level if uncertainty in the data exists or there is an overall lack of confidence. It is anticipated that most users of the tool will exit early from the framework with sufficient confidence in the outcome of the index value. When an EAFI is not reached there is a clear understanding as to why and the necessary remedial actions necessary in order to achieve a higher score in future iterations. The EAFI is still in development but early dialogue with potential end users and other stakeholders has been positive.
ผลงานสำคัญผลงานหนึ่งของโครงการซีท (โครงการความยั่งยืนของการค้าผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่มีจรรยาบรรณ) คือ ดัชนีจรรยาบรรณอาหารจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (Ethical Aquaculture Food Index :EAFI) ดัชนีนี้จะเป็นการให้น้ำหนักคะแนนที่นำเรื่องเกี่ยวกับจิตสำนึก/จรรยาบรรณ (ยกตัวอย่างเช่น การใช้แรงงานเด็ก, การใช้กฎหมายแรงงาน เป็นต้น) และ สิ่งที่เกี่ยวกับความยั่งยืน (ผลกระทบของฟาร์มกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบฟาร์ม และสิ่งแวดล้อมที่ระดับกว้างขึ้น) นำมาใช้ในการพิจารณา ดัชนีจรรยาบรรณอาหารจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จะใช้วิธีการกำหนดกรอบงานซ้ำแบบลำดับชั้น (simple hierarchical tiered assessment) ใช้เป็นกรอบงานในการช่วยการตัดสินใจ และทำให้เกิดตัวเลขของค่าดัชนี เครื่องมือการตัดสินใจของดัชนีจรรยาบรรณอาหารจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำนี้จะเป็นชุดของลำดับขั้นที่ต่อเนื่องกัน แต่ละชั้นจะประกอบด้วยชุดของคำถาม
ลำดับชั้นขึ้นอยู่กับความเข้าใจส่วนประกอบของห่วงโซ่มูลค่าของแต่ละผลิตภัณฑ์ ในแต่ละประเทศ และในแต่ละขนาดของผู้ผลิต รายละเอียดเหล่านี้จะใช้เป็นลำดับชั้นเริ่มต้น ลำดับชั้น 0 (tier 0) ของกรอบงาน มีการถามคำถามในลำดับชั้นนี้ เพื่อที่จะได้ค่าตัวเลขของดัชนีจรรยาบรรณอาหารจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ลำดับชั้น 1 และ 2 (ในที่สุดชั้น 3) จะมีการเพิ่มปริมาณคำถามมากขึ้นในแต่ละชั้น
ความสามารถในการตอบคำถามจะเป็นตัวบ่งบอกถึงจุดสิ้นสุดสำหรับกรอบงาน คำถามในแต่ละชั้นจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องมากขึ้นกว่าชั้นที่ผ่านมา โดยการใช้เครื่องมือการตัดสินใจแบบลำดับชั้น ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้เพียงให้เกินกว่าระดับเริ่มต้น ถ้าความไม่แน่นอนในข้อมูลเกิดขึ้นหรือมีการขาดความเชื่อมั่นในภาพรวมทั้งหมด ซึ่งสามารถคาดได้ว่าผู้ใช้ส่วนใหญ่จะออกจากกรอบงานก่อนด้วยความเชื่อมั่นที่เพียงพอในผลของค่าดัชนีฯ เมื่อค่าดัชนีฯไม่ถึงระดับ เป็นสิ่งที่เข้าใจดีว่าทำไมถึงไม่ถึงระดับนั้น และมีความจำเป็นที่จะต้องทำอย่างไรที่จะทำให้ได้ค่าดัชนีที่สูงขึ้นในการทำซ้ำในอนาคต ดัชนีจรรรยาบรรณอาหารจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ยังอยู่ในช่วงการพัฒนา แต่การได้ประชุมพูดคุยปรึกษาระดับต้น กับผู้ใช้ และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ได้รับการตอบสนองที่เห็นด้วยกับวิธีการที่นำเสนอ
No comments:
Post a Comment